ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ชื่อย่อภาษาไทย
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
Bachelor of Education Program in Computer Education
ค.บ. (คอมพิวเตอร์ศึกษา)
B.Ed. (Computer Education)
จัดการศึกษาเพื่อผลิตครูมืออาชีพที่มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา สู่การพัฒนาชุมชนและ
ท้องถิ่น
เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ให้มีคุณลักษณะดังนี้
1) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทันในการเรียนรู้ มีทักษะภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
สามารถนำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) มีทักษะในศตวรรษที่ 21 คิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล คิดแบบองค์รวม
พัฒนานวัตกรรม เสริมสร้างท้องถิ่นให้เข้มแข็ง และมีมุมมองเชิงธุรกิจ
3) มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์กว้างไกล เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น
สังคม ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
4) มีคุณธรรม จริยธรรม วินัย จิตสาธารณะ สำนึกในความเป็นไทย สำนึกสาธารณะ สำนึกรักษ์
ท้องถิ่น ดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5) รู้กฎหมายในยุคดิจิทัล และเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลกเพื่อให้
นักศึกษาใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทันในการเรียนรู้ มีทักษะภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถ
นำไปใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6) มีสมรรถนะในการใช้แนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้ในศาสตร์วิชาชีพครู มีคุณธรรม
จริยธรรมความเป็นครู
7) มีสมรรถนะในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในศาสตร์ทางวิทยาการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้และการศึกษาเกี่ยวกับงาน
ครูและบทบาทหน้าที่ครู
8) มีสมรรถนะในการออกแบบวิจัยและพัฒนางานวิชาชีพครูการบริหารและการประกัน
คุณภาพการศึกษาได้อย่างมีระบบ สร้างสรรค์ และเป็นครูผู้ช่วย ผู้ช่วยสอนในศาสตร์สาขาวิชาเฉพาะ
9) มีสมรรถนะในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาตนเองของ
นักศึกษาครู และแฟ้มสะสมงาน
10) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู
11) มีทักษะปฏิบัติการทางด้านคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาผลงานทางด้านวิชาการ การพัฒนา
นวัตกรรมทางการสอนและจัดการเรียนรู้ได้
12) สามารถประยุกต์ใช้หลักการในศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์หรือศาสตร์ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา
นวัตกรรม และจัดการเรียนรู้ได้
3.2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
3.2.2.1 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า จากสถานศึกษา
เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจากสถาบันที่
กระทรวงศึกษาธิการรับรอง และเกรดเฉลี่ยต้องไม่ต่ำกว่า 2.00
3.2.2.2 การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
(1) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและ/หรือ เป็นไป
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2566 (ภาคผนวก ก)
หรือ
(2) ผ่านการคัดเลือกโดยระบบ TCAS ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
(3) ผ่านการคัดเลือกโดยวิธีรับตรง ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามโดยคณาจารย์
ประจำหลักสูตรด้วยวิธีการสอบข้อเขียนและ/หรือการสอบสัมภาษณ์รวมทั้งพิจารณาจากผลการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนสอบโดยระบบคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป: รวมไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต โดยแบ่งเป็นวิชาบังคับและวิชาเลือกจากกลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ และสหวิทยาการ
หมวดวิชาเฉพาะด้าน: รวมไม่น้อยกว่า 109 หน่วยกิต แบ่งเป็น:
กลุ่มวิชาชีพครู: ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต โดยประกอบด้วยวิชาชีพครู 28 หน่วยกิต และวิชาชีพปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 12 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเอก: ไม่น้อยกว่า 69 หน่วยกิต ซึ่งรวมถึงวิชาเอกบังคับ 45 หน่วยกิต และวิชาเอกเลือก 24 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี: ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยสามารถเลือกเรียนวิชาใด ๆ ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย ยกเว้นวิชาที่เป็นพื้นฐานของวิชาเอกหรือวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตรวมในการสำเร็จการศึกษา
1 ครู/อาจารย์ ผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษาหรือที่เกี่ยวข้อง
2 ผู้ออกแบบและผลิตสื่อการเรียนการสอนทางการศึกษา
3 นักวิชาการทางการศึกษา
4 นักวิชาการคอมพิวเตอร์
5 นักพัฒนาเว็บไซต์ด้านการศึกษาและอื่น ๆ
6 ผู้ประกอบการอิสระด้านคอมพิวเตอร์และการผลิตสื่อการเรียนการสอนทางการศึกษา
7 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษา
8 ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลสถานศึกษา
เว็บไซต์
ลิงค์ วีดีโอ แนะนำประจำหลักสูตร youtube
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท ศศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2547
บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ภานุมาศ พร้อมวงษ์, ประวิทย์ สิมมาทัน และขจรพงษ์ ร่วมแก้ว. (2565). การส่งเสริม
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้
สื่อสังคมสนับสนุนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนผดุงนารี. วารสารครุ
ศาสตร์. 19(2), 97-106.
อนุชา ปิ่นกระโทก, ประวิทย์ สิมมาทัน และขจรพงษ์ ร่วมแก้ว. (2565). การจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือที่ใช้เว็บสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีมสำหรับชั้น
เรียนประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลดารณีท่าบ่อ. วารสารครุศาสตร์. 19(1),
50-64.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2543
ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ (เผยแพร่ตามเกณฑ์ก.พ.อ. พ.ศ. 2564)
1) บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Proceedings)
-
2) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ปัณญาพัฒน์ขันทอง และราตรีสุภาเฮือง. (2566). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ Motion
Graphic On Demand รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
การศึกษาและการ เรียนรู้สำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการและวิจัย
มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 13(3), 130-141.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2563
ปริญญาโท ศศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2552
ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ (เผยแพร่ตามเกณฑ์ก.พ.อ. พ.ศ. 2564)
1) บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Proceedings)
-
2) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ปัณญาพัฒน์ขันทอง และราตรีสุภาเฮือง. (2566). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ Motion
Graphic On Demand รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
การศึกษาและการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. 13(3), 130-141.
ปริญญาเอก ปร.ด.(คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559
ปริญญาโท วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549
ปริญญาตรี ศศ.บ.(สารสนเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2545
ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ (เผยแพร่ตามเกณฑ์ก.พ.อ. พ.ศ. 2564)
1) บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Proceedings)
-
2) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
กริชเพชร สุดาปัน, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การส่งเสริมแรงจูงใจ
ใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ผสมผสานแบบทีม แข่งขันสําหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโพนทัน. วารสารครุศาสตร์, 19(3), 25-34.
จุฑามาศ มีสุข, วณิชา สาคร และรัตติกาล สารกอง. (2565). การพัฒนาสมรรถนะการใช้ ICT อย่าง
เหมาะสม (ICA5) ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานควบคู่กับแบบวัด
ความเป็นพลเมืองดิจิทัลแบบออนไลน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุกูล
นารี จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการจัดการเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม,
9(2), 88-96.
ชนิสรา แก้วลี, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ผสมผสานแบบสืบเสาะหาความรู้ที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารครุศาสตร์, 19(3), 71-81.
เชาวเลิศ ทศธรรม, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ด้วยการจัดการเรียนรู้ผสมผสาน แบบโครงงานเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนบ้านนาโพธิ์ (สหพันธ์พิทยาภรณ์). วารสารครุศาสตร์, 19(3), 57-69.
Sakorn, Wanicha. (2022). Assessing the Digital Citizenship Self-efficacy of Pre-service Teachers. Journal of Educational Issues. 8(2), 513-523.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552
ปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550
ผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ (เผยแพร่ตามเกณฑ์ก.พ.อ. พ.ศ. 2564)
1) บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Proceedings)
-
2) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
สุภาวรรณ จันทวงค์, สนิท ตีเมืองซ้ายและอุบลวรรณ จันทรเสนา. (2565). การเรียนรู้แบบ
ผสมผสานโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา เพื่อส่งเสริมการ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียน อนุบาลธษพลศึกษา. วารสารครุศาสตร์. 19(2), 52-64.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท ศศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2547
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ภานุมาศ พร้อมวงษ์, ประวิทย์ สิมมาทัน และขจรพงษ์ ร่วมแก้ว. (2565). การส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้สื่อสังคมสนับสนุนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนผดุงนารี. วารสารครุศาสตร์. 19(2), 97-106.
อนุชา ปิ่นกระโทก, ประวิทย์ สิมมาทัน และขจรพงษ์ ร่วมแก้ว. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ใช้เว็บสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการทำงานเป็นทีมสำหรับชั้นเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลดารณีท่าบ่อ. วารสารครุศาสตร์. 19(1), 50-64.
ปริญญาโท วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2547
1) บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
Prisayarat Sangapate, Chayakorn Somsila, Paweena Tangjuang, (2021). Mathematical analysis and adaptive control spreading of coronavirus disease 2019 (COVID-19), J. Math. Comput. Sci., 11 (2021), 5862-5877.
Prisayarat Sangapate, Paweena Tangjuang, Chayakorn Somsila. (2022). Stability Analysis and Adaptive Control of Spreading Tuberculosis Disease. International Journal of Mathematics and Computer Science, 17(2022), no. 1, 231–242.
ปริญญาเอก ปร.ด.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2559
ปริญญาโท วท.ม.(การศึกษาวิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร์)) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2546
ปริญญาตรี วท.บ.(เทคโนโลยีการผลิตสัตว์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2542
1) บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
ปรัศนียพร ภูมิสุวรรณ์ ดรุณนภา นาชัยฤทธิ์ และชัยวัฒน์ สุภัควรกุล. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ เรื่องคำศัพท์ภาษาอังกฤษในวิชาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ .6(1) .303-316.
ปริญญาโท ค.ม.(คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2553
ปริญญาตรี ค.บ.(คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2541
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
สิทธิโชค พรรค์พิทักษ์, อรรควุธ แก้วสีขาว และธนาพล ตริสกุล. (2564). การพัฒนาระบบแจ้งเตือนสภาวะแวดล้อมทางการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง กรณีศึกษา สวนมะม่วง. วารสารวิชาการ นวัตกรรมการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 8 (1). 60-72.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2543
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ปัณญาพัฒน์ ขันทอง และราตรี สุภาเฮือง. (2566). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ Motion Graphic On Demand รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการ เรียนรู้สำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 13(3), 130-141.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2563
ปริญญาโท ศศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
ปริญญาตรี บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2552
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
ปัณญาพัฒน์ ขันทอง และราตรี สุภาเฮือง. (2566). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ Motion Graphic On Demand รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 13(3), 130-141.
ปริญญาเอก ปร.ด.(คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559
ปริญญาโท วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549
ปริญญาตรี ศศ.บ.(สารสนเทศศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2545
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
กริชเพชร สุดาปัน, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การส่งเสริมแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ผสมผสานแบบทีม แข่งขันสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโพนทัน. วารสารครุศาสตร์, 19(3), 25-34.
จุฑามาศ มีสุข, วณิชา สาคร และรัตติกาล สารกอง. (2565). การพัฒนาสมรรถนะการใช้ ICT อย่างเหมาะสม (ICA5) ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานควบคู่กับแบบวัด ความเป็นพลเมืองดิจิทัลแบบออนไลน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุกูล
นารี จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(2), 88-96.
ชนิสรา แก้วลี, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ผสมผสานแบบสืบเสาะหาความรู้ที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารครุศาสตร์, 19(3), 71-81.
เชาวเลิศ ทศธรรม, ทรงศักดิ์ สองสนิท และ วณิชา สาคร. (2565). การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนรู้ผสมผสาน แบบโครงงานเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านนาโพธิ์ (สหพันธ์พิทยาภรณ์). วารสารครุศาสตร์, 19(3), 57-69.
Sakorn, Wanicha. (2022). Assessing the Digital Citizenship Self-efficacy of Pre-service Teachers. Journal of Educational Issues. 8(2), 513-523.
ปริญญาเอก ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2560
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2552
ปริญญาตรี วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550
1) บทความวิจัยในวารสารวิชาการ
สุภาวรรณ จันทวงค์, สนิท ตีเมืองซ้ายและอุบลวรรณ จันทรเสนา. (2565). การเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา เพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน อนุบาลธษพลศึกษา.
วารสารครุศาสตร์. 19(2), 52-64.
ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2553
วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2547
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2537
กัญญาพัชร ยอดกลาง, ทรงศักดิ์ สองสนิท, วณิชา สาคร. (2565). การส่งเสริมความสามารถการคิด
เชิงคำนวณโดยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน กับการใช้โครงงานเป็นฐาน รายวิชา
วิทยาการคำนวณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนผดุงนารี. วารสารครุ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 19 (2) 42-51.
รัชฎาภรณ์ มาตรา, ทรงศักดิ์ สองสนิท, ประวิทย์ สิมมาทัน. (2565). การพัฒนาการเรียนรู้แบบ
ผสมผสานตามแนวคอนเน็คติวิสต์ซึม เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 19 (2) 65-76.
วนิลลัดดา ทานะเวทย์, ทรงศักดิ์ สองสนิท, วณิชา สาคร. (2565) การส่งเสริมทักษะปฏิบัติทาง
นาฏศิลป์โดยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนทรายทองเฉลิมวิทย์. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม, 19 (2) 87-96.
ปริญญาเอก ปร.ด. คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2552
ปริญญาโท ค.อ.ม. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แขนง คอมพิวเตอร์ศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2545
ปริญญาตรี ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา สถาบันราชภัฏมหาสารคาม 2540
ศิรภัสสร์ อินทรพาณิชย์, ประวิทย์ สิมมาทัน และ สนิท ตีเมืองซ้าย. (2564). รูปแบบการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมการคิดผลิตภาพเชิงสร้างสรรค์ภายใต้สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส สำหรับนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 18 (3). 79-92.
Mungchu, A., Teemueangsa, S., and Jedaman, P. (2021). Science educational
management of "SIAOE model" for sustainability the quality improving a Thai's
Basic education, Thailand. American International Journal of Social Science,
9 (1), March 2020, DOI:10.30845/aijss.v9n1p9
ปริญญาเอก ปร.ด. คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2552
ปริญญาโท กศ.ม. เทคโนโลยีการศึกษ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2539
ปริญญาตรี ค.บ. เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทางการศึกษา วิทยาลัยครูจันทรเกษม 2532
ศิรภัสสร์ อินทรพาณิชย์, ประวิทย์ สิมมาทัน และ สนิท ตีเมืองซ้าย. (2564). รูปแบบการเรียนรู้ที่
ส่งเสริมการคิดผลิตภาพเชิงสร้างสรรค์ภายใต้สภาพแวดล้อมยูบิควิตัส สำหรันักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 18 (3). 79-92.
ศรัณย์ อวิรุทธไพบูลย์, ประวิทย์ สิมมาทัน, ขจรพงษ์ ร่วมแก้ว (2565). การพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ด้วยเทคนิคกลุ่มสืบค้นที่มีสื่อสังคมสนับสนุน
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนผดุงนารี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏมหาสารคาม, 19 (2) 77-86.
ภานุมาศ พร้อมวงษ์, ประวิทย์ สิมมาทัน, ขจรพงษ์ ร่วมแก้ว (2565). การส่งเสริมความสามารถใน
การคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้สื่อสังคมสนับสนุน
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนผดุงนารี. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏมหาสารคาม, 19 (2) 97-106.