ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ชื่อย่อภาษาไทย
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีการอาหาร)
Bachelor of Science (Food Technology)
วท.บ. (เทคโนโลยีการอาหาร)
B.Sc. (Food Technology)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565) มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ โดยมีทักษะในการปฏิบัติงาน มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงานของตนเองและสังคม ตลอดจนสามารถนาองค์ความรู้ ไปใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางอาหารเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ
เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร ที่มีคุณสมบัติดังนี้
1) มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพของตน
2) มีความรู้ ความเข้าใจทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ และสามารถนาองค์ความรู้และประสบการณ์ไปปฏิบัติงานทางด้านเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3) มีทักษะทางปัญญา คิดวิเคราะห์และสามารถแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและหน้าที่ที่ได้รับมมอบหมาย และสามารถทำงานเป็นทีมได้
5) มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ภาษาและการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6) มีทักษะทางวิชาการด้านวิทยาศาสต์และเทคโนโลยีการอาหาร ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้และสร้างสรรค์นวัตกรรมอาหารตามการเปลี่ยนแปลงของโลก
1) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในแผนการเรียนของ วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ หรือที่เกี่ยวข้อง
2) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม และ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2563 หมวด 5 หรือ ผู้ผ่านการสอบคัดเลือกโดยระบบคัดเลือกของมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม หรือผู้ผ่านการคัดเลือกโดยคณะเทคโนโลยีการเกษตร ด้วยวิธีการสอบข้อเขียนหรือข้อสอบ คัดเลือกหรือวิธีการอื่นของคณะเทคโนโลยีการเกษตร
"สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร เน้นการปฏิบัติและเรียนรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัตถุดิบทางอาหาร และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อถูกแปรรูป เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ตั้งแต่ระดับชุมชนไปจนถึงระดับอุตสาหกรรม การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพให้อาหารมีความปลอดภัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างสรรค์นวัตกรรมอาหารให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค"
1. พนักงานในบริษัทเอกชนหรือหน่วยงานต่างของรัฐ ได้แก่ เจ้าหน้าที่วางแผนการผลิต พนักงานควบคุมการผลิต พนักงานควบคุมและประกันคุณภาพ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านอาหาร นักพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างนวัตกรรมอาหาร
2. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทางด้านอาหาร คหกรรม เทคโนโลยีการอาหาร การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมอาหาร หรืออุตสาหกรรมการเกษตร
3. ตัวแทนจาหนํายผลิตภัณฑ์อาหาร การจำหน่ายเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และอื่น ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือด้านอุตสาหกรรมอาหาร
4. ประกอบธุรกิจส่วนตัวทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
5. นักวิจัย ผู้ชํวยนักวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
6. นักโภชนาการในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
7. ผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการธุรกิจด้านอาหาร
ลิงค์ วีดีโอ แนะนำประจำหลักสูตร youtube
ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)
วท.ม. (เทคโนโลยีอาหาร)
วท.บ. (ชีววิทยา)
เบญจพร รอดอาวุธ, ชื่นจิต พงษ์พูล, พรพรรณ จิอู๋ และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2561). การพัฒนากระบวนการผลิตและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขนมปังสังขยา. วารสารเกษตรพระวรุณ, 15(1), 168-177. (TCI กลุ่มที่ 1)
สาโรจน์ รอดคืน, โชษณ ศรีเกตุ และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2561). สมบัติทางเคมีและ ชีวเคมีของกากงาขี้ม่อนสกัดน้ำมัน. วารสารเกษตรพระวรุณ, 15(1), 178-193. (TCI กลุ่มที่ 1)
ปร.ด. (เทคโนโลยีอาหาร)
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
วท.บ. (ชีววิทยา)
พรพรรณ พัวไพบูลย์. (2561). ผลของเซลลูโลสจากแบคทีเรียต่อสมบัติทางกายภาพของฟิล์มแอคทีฟ. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ครั้งที่ 3. (น. 85-93) 11 – 12 มกราคม 2561. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
พรพรรณ พัวไพบูลย์, ธนิษฐ์นันท์ บุญศรีชนะ, มนันยา นันทสาร, ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์, ธนพงษ์ เกษรมาลา และ หฤทัย แสนชัย. (2564). การประเมินการหมักจากกล้าเชื้อ Lactobacillus plantarum (TISTR 864, TISTR 877) ต่อคุณภาพส้มผักกาดเขียวปลี (ผักกาดเขียวดองอีสาน). วารสารเกษตรพระวรุณ, 18(1), 48-57.
doi: 10.14456/paj.2021.6 (TCI กลุ่มที่ 2)
วท.ม.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร เช่น ปลาร้า แคบหมู บราวนี่ เป็นต้น
วท.ม. (คหกรรมศาสตร์)
• วิทยากรโครงการการพัฒนาสตาร์ทอัพด้วยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากปูนาเพื่อการต่อยอดเชิงพาณิชย์ ณ บ้านดอนอีจันทร์ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 22-23 มิถุนายน 2567
• วิทยากรโครงการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่จากเห็ดให้มีความหลากหลายโดยใช้เทคโนโลยีอาหาร ณ ต.แวงน่าง อ.เมือง จ.มหาสารคาม 1-3 เมษายน 2567
• หัวหน้าโครงการ : โครงการผลิตชาใบอ่อนข้าวหอมมะลิและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว ภายใต้โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ปี 2565 ต.แข้ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ (กรกฎาคม – กันยายน 2565)
• วิทยากรโครงการหมู่บ้านผลิตและแปรรูปสมุนไพรดอกอัญชันออร์แกนิคในเชิงพานิชย์ กิจกรรมปฏิบัติการแปรรูปดอกอัญชันเป็นขนมอาลัวดอกอัญชัน ณ หมู่บ้านสารคามพัฒนา ต.เสือโก้ก อ.วาปีปทุม จ.มหาสารคาม (25 กรกฎาคม 2565)
• บริการวิชาการ เรื่อง การจัดอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารและเทคนิคการประกอบอาหารสำหรับการต้อนรับแขก ณ สวนคงแสงฟาร์ม ต.นาภู อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม (10 กรกฎาคม 2565)
• วิทยากรโครงการพัฒนาทักษะอาชีพจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อสุขภาพของชุมชน เรื่อง การผลิตลูกแป้งข้าวหมาก และการทำข้าวหมาก ณ ต.เมืองพล อ.พล จ.ขอนแก่น (11 ธันวาคม 2564)
• วิทยากรโครงการเสริมสร้างพัฒนาความรู้และทักษะอาชีพด้านการเลี้ยงโคเนื้อครบวงจร กิจกรรมแปรรูปเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์จากโคเนื้อ (เนื้อสวรรค์ เนื้อฝอย) ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเสือโก้ก ตำบลแก่งเลิงจาน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม (4 ธันวาคม 2564)
ปร.ด. เทคโนโลยีการอาหาร (นานาชาติ)
วท.ม. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
วท.บ. เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ
1. Thammapat, P., Raviyan, P., & Siriamornpun, S. (2010). Proximate and fatty acids composition of the muscles and viscera of Asian catfish (Pangasius bocourti). Food Chemistry (Impact factor 3.83), 122, 223-227.
2. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2015). Effects of NaCl and soaking temperature on the phenolic compounds, α-tocopherol, γ-oryzanol and fatty acids of glutinous rice. Food Chemistry (Impact factor 4.76), 175 : 218-224.
3. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2016). Effects of the traditional method and an alternative parboiling process on the fatty acids, vitamin E, γ-oryzanol and phenolic acids of glutinous rice. Food Chemistry (Impact factor 4.02), 194 : 230-236.
4. Thammapat, P., Siriamornpun, S., & Raviyan, P (2016). Concentration of eicosapentaenoic acid (EPA) and docosahexaenoic acid (DHA) of Asian catfish oil by urea complexation: optimization of reaction conditions. Songklanakarin Journal of Science and Technology (Impact factor 0.25), 38(2) : 163-170.
5. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2014). Effect of soaking conditions on resistant starch of glutinous rice : Optimization of soaking conditions. 18th World Congress on Clinical Nutrition (WCCN) 2014. December 1-3, 2014.
6. Thammapat, P., Dakaew, S., Ratmanee, P., Pichai, S.. & Palakawong, C. (2016). Effect of soaking conditions on resistant starch of glutinous rice –A response surface approach. ICSSS 2016. Mahasarakham, September 22-23, 2016.
7. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และพัชรินทร์ ระวียัน. (2551). ผลของอุณหภูมิต่อการเพิ่มความเข้มข้น EPA และ DHA จากน้ำมันปลาเผาะโดยการตกผลึกกับยูเรีย. วารสารเกษตรนเรศวร, 11(3) : 43-51.
8. Siriamornpun, S., & Thammapat, P. (2008). Insects as a Delicacy and a Nutritious Food in Thailand. International Union of Food Science & Technology. 1-12.
9. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และพัชรินทร์ ระวียัน. (2550). ปลาเผาะ : แหล่งของโอเมก้า 3.
วารสารสถาบันอาหาร 9(54) : 75-81.
10. Thammapat, P., & Raviyan, P. (2007). Pangasius (Pangasius bocourti) :
Source of omega-3 and health benefit. Research path: Towards a green and happy society. November 23-25, 2007.
11. Thammapat, P. & Siriamornpun, S. (2017). Concentration of Polyunsaturated Fatty Acid of Rice Bran Oil by Urea Complexation–A Response Surface Approach. Prawarun Journal. 14(2) : 124-135.
12. Thammapat, P. & Raviyan, P. (2550). Pangasius (Pangasius bocourti) : Source of omega-3 and beneficial to health (P-125). การประชุมวันวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 “วิถีวิจัย : สู่สังคมร่มรื่นและเป็นสุข” 23-25 พฤศจิกายน 2550.
13. Ruttanasuriyakorn, S., Atthacha, I., Thammapat, P., Sarobol, M., & Pharanat, W. (2018). Determination of heat transfer coefficient of organic chiangda tea (Gymnema inodorum Lour.) under hot air convection drying (P-764). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
14. Boonsuwan, S., Sarobol, M., Thammapat, P., Pharanat, W. & Suttham, W. (2018). Energy consumption and quality attributes for drying postharvest of dragon fruit (Hylocereus undatus) following disinfesting hot air treatments (P-699). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
15. Sarobol, M., Pharanat, W., Thammapat, P., Ruttanasuriyakorn, S., Atthacha, I., & Sarobol, P. (2018). Mathematical model suitability for thin-layer drying of chiangda herbal tea (Gymnema inodorum Lour.) under modified greenhouse dryer (P-540). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
16. Artwongsa, N., Saemsri, P., Sarobol, M., & Thammapat, P. (2018).
Development of germinated parboiled thunya-sirin glutinous rice product under modified greenhouse dryer (P-703). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
17. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2013). Effect of Soaking
Condition on Amylose, Amylopectin and Radical Scavenging Activity of
RD-6 Rice (P-262). 8th International CIGR Technical Symposium “Advanced food processing and quality management”. Guangzhou, China 3-7 November 2013.
18. สำราญ พิมราช สุนันท์ บุตรศาสตร์ และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2561). ผลของการฉีด
พ่นกรดซิลิซิกต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1. วารสารเกษตรพระวรุณ. 15(2) : 363-371.
19. สิทธิโชค พรรค์พิทักษ์ ปภัสสร สุทธิด่าง และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2561). ผลของ
โอโซนต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะเขือเทศสีดา(Lycopersicon esculentum
Mill.) ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ. วารสารเกษตรพระวรุณ. 15(2) : 325-334.
20. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ วีระยุทธ แสนมหาชัย สุพรรษา บ่อใหญ่ กมล พลคำ. (2564). ผล
ของการอบแห้งด้วยรังสีอินฟราเรดและลมร้อนต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของขมิ้นชัน. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 8-15.
21. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา กฤษฎา ไชยสิงห์. (2564). ผลของ
ระยะเวลาและอุณหภูมิในการงอกต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดและกรดแกมมา-อะมิโนบิวทิริกในข้าวไทยบางชนิด. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 49-55.
22. สำราญ พิมราช เหล็กไหล จันทะบุตร พรพิษณุ ธรรมปัทม์ สุนันท์ บุตรศาสตร์. (2563).
ความสัมพันธ์ระหว่างการสะสมปริมาณซิลิคอนกับการให้ผลผลิตของข้าว. วารสารเกษตรพระวรุณ. 17(2) : 209-222.
23. ญาณิศา โพธิ์รัตน์โส สุนันท์ บุตรศาสตร์ และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2562). การพัฒนา
ผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ฟักทองปลอดกลูเตน. วารสารเกษตรพระวรุณ. 16(2) : 221-227.
24. กาญจนา ดงสงคราม พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และ กฤตภาส ยุทธอาจ. (2562). นวัตกรรม
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ขนมจีนอบแห้งสมุนไพร. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. 5(2) : 94-102.
25. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ นวลอนงค์ องค์นาม อนุศาสน์ โยธะวงษ์ ศราวุฒ รักษาราช และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใบมะเขือแผ่นอบกรอบเสริมโปรตีนจากแมลง. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 49-55.
26. เปรมประชา ดรชัย ศราวุฒ รักษาราช มาตรา ยุบลชู และ พรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นจากผักโขมเสริมโปรตีนจากหอยเชอรี่. วารสารเกษตรนเรศวร. 19(1) : 1-13.
27. Pornpisanu Thammapat and Sirithon Siriamornpun. (2023). Effect of urea-to-fatty acid ratio and crystallization temperature on the fatty acid composition of rice bran oil concentrate by urea complexation. Naresuan University Journal: Science and Technology. (31)1 : 20-28.
28. เปรมประชา ดรชัย รจนา ภูสมตา อรปรียา ปะตาทะโย และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเสริมมันเทศและโปรตีนจากแมลง. วารสารเกษตรพระวรุณ. 20(1) : 11-18.
29. วีระชาติ นันตะเวช สำราญ พิมราช และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2566). ผลของระยะเวลาในการงอกต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและ ไฟโตสเตอรอลในข้าวไทยบางชนิด. เกษตรพระวรุณ. 20(2) : 92-97.
ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)
วท.ม. (เทคโนโลยีอาหาร)
วท.บ. (ชีววิทยา)
เบญจพร รอดอาวุธ, ชื่นจิต พงษ์พูล, พรพรรณ จิอู๋ และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2561). การพัฒนากระบวนการผลิตและการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ขนมปังสังขยา. วารสารเกษตรพระวรุณ, 15(1), 168-177. (TCI กลุ่มที่ 1)
สาโรจน์ รอดคืน, โชษณ ศรีเกตุ และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2561). สมบัติทางเคมีและ ชีวเคมีของกากงาขี้ม่อนสกัดน้ำมัน. วารสารเกษตรพระวรุณ, 15(1), 178-193. (TCI กลุ่มที่ 1)
ปร.ด. (เทคโนโลยีอาหาร)
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
วท.บ. (ชีววิทยา)
พรพรรณ พัวไพบูลย์. (2561). ผลของเซลลูโลสจากแบคทีเรียต่อสมบัติทางกายภาพของฟิล์มแอคทีฟ. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ครั้งที่ 3. (น. 85-93) 11 – 12 มกราคม 2561. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
พรพรรณ พัวไพบูลย์, ธนิษฐ์นันท์ บุญศรีชนะ, มนันยา นันทสาร, ทวีทรัพย์ ไชยรักษ์, ธนพงษ์ เกษรมาลา และ หฤทัย แสนชัย. (2564). การประเมินการหมักจากกล้าเชื้อ Lactobacillus plantarum (TISTR 864, TISTR 877) ต่อคุณภาพส้มผักกาดเขียวปลี (ผักกาดเขียวดองอีสาน). วารสารเกษตรพระวรุณ, 18(1), 48-57.
doi: 10.14456/paj.2021.6 (TCI กลุ่มที่ 2)
วศ.ม (วิศวกรรมการอาหาร)
วศ.บ (วิศวกรรมอาหาร)
ปาริชาติ ราชมณี, สุธิดา พิทักษ์วินัย และวุฒิไกร บัวแก้ว. จลนพลศาสตร์การอบแห้งขมิ้นชันแบบชั้นบางด้วยเครื่องอบแห้งแบบลมร้อน. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (The Journal of Industrial Technology). 2021, volume17: Issue 2: 32-45.
วท.ม. (คหกรรมศาสตร์)
• วิทยากรโครงการการพัฒนาสตาร์ทอัพด้วยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากปูนาเพื่อการต่อยอดเชิงพาณิชย์ ณ บ้านดอนอีจันทร์ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 22-23 มิถุนายน 2567
• วิทยากรโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจฐานราก คณะเทคโนโลยีการเกษตร ณ ชุมชนวัดศรีสวัสดิ์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 19 มิถุนายน 2567
• วิทยากรโครงการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่จากเห็ดให้มีความหลากหลายโดยใช้เทคโนโลยีอาหาร ณ ต.แวงน่าง อ.เมือง จ.มหาสารคาม 1-3 เมษายน 2567
• หัวหน้าโครงการ : โครงการผลิตชาใบอ่อนข้าวหอมมะลิและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยว ภายใต้โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) ปี 2565 ต.แข้ อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ (กรกฎาคม – กันยายน 2565)
• วิทยากรโครงการหมู่บ้านผลิตและแปรรูปสมุนไพรดอกอัญชันออร์แกนิคในเชิงพานิชย์ กิจกรรมปฏิบัติการแปรรูปดอกอัญชันเป็นขนมอาลัวดอกอัญชัน ณ หมู่บ้านสารคามพัฒนา ต.เสือโก้ก อ.วาปีปทุม จ.มหาสารคาม (25 กรกฎาคม 2565)
• บริการวิชาการ เรื่อง การจัดอุปกรณ์บนโต๊ะอาหารและเทคนิคการประกอบอาหารสำหรับการต้อนรับแขก ณ สวนคงแสงฟาร์ม ต.นาภู อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม (10 กรกฎาคม 2565)
• วิทยากรโครงการพัฒนาทักษะอาชีพจากการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวเพื่อสุขภาพของชุมชน เรื่อง การผลิตลูกแป้งข้าวหมาก และการทำข้าวหมาก ณ ต.เมืองพล อ.พล จ.ขอนแก่น (11 ธันวาคม 2564)
• วิทยากรโครงการเสริมสร้างพัฒนาความรู้และทักษะอาชีพด้านการเลี้ยงโคเนื้อครบวงจร กิจกรรมแปรรูปเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์จากโคเนื้อ (เนื้อสวรรค์ เนื้อฝอย) ณ องค์การบริหารส่วนตำบลเสือโก้ก ตำบลแก่งเลิงจาน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม (4 ธันวาคม 2564)
ปร.ด. เทคโนโลยีการอาหาร (นานาชาติ)
วท.ม. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
วท.บ. เทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ
1. Thammapat, P., Raviyan, P., & Siriamornpun, S. (2010). Proximate and fatty acids composition of the muscles and viscera of Asian catfish (Pangasius bocourti). Food Chemistry (Impact factor 3.83), 122, 223-227.
2. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2015). Effects of NaCl and soaking temperature on the phenolic compounds, α-tocopherol, γ-oryzanol and fatty acids of glutinous rice. Food Chemistry (Impact factor 4.76), 175 : 218-224.
3. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2016). Effects of the traditional method and an alternative parboiling process on the fatty acids, vitamin E, γ-oryzanol and phenolic acids of glutinous rice. Food Chemistry (Impact factor 4.02), 194 : 230-236.
4. Thammapat, P., Siriamornpun, S., & Raviyan, P (2016). Concentration of eicosapentaenoic acid (EPA) and docosahexaenoic acid (DHA) of Asian catfish oil by urea complexation: optimization of reaction conditions. Songklanakarin Journal of Science and Technology (Impact factor 0.25), 38(2) : 163-170.
5. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2014). Effect of soaking conditions on resistant starch of glutinous rice : Optimization of soaking conditions. 18th World Congress on Clinical Nutrition (WCCN) 2014. December 1-3, 2014.
6. Thammapat, P., Dakaew, S., Ratmanee, P., Pichai, S.. & Palakawong, C. (2016). Effect of soaking conditions on resistant starch of glutinous rice –A response surface approach. ICSSS 2016. Mahasarakham, September 22-23, 2016.
7. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และพัชรินทร์ ระวียัน. (2551). ผลของอุณหภูมิต่อการเพิ่มความเข้มข้น EPA และ DHA จากน้ำมันปลาเผาะโดยการตกผลึกกับยูเรีย. วารสารเกษตรนเรศวร, 11(3) : 43-51.
8. Siriamornpun, S., & Thammapat, P. (2008). Insects as a Delicacy and a Nutritious Food in Thailand. International Union of Food Science & Technology. 1-12.
9. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และพัชรินทร์ ระวียัน. (2550). ปลาเผาะ : แหล่งของโอเมก้า 3.
วารสารสถาบันอาหาร 9(54) : 75-81.
10. Thammapat, P., & Raviyan, P. (2007). Pangasius (Pangasius bocourti) :
Source of omega-3 and health benefit. Research path: Towards a green and happy society. November 23-25, 2007.
11. Thammapat, P. & Siriamornpun, S. (2017). Concentration of Polyunsaturated Fatty Acid of Rice Bran Oil by Urea Complexation–A Response Surface Approach. Prawarun Journal. 14(2) : 124-135.
12. Thammapat, P. & Raviyan, P. (2550). Pangasius (Pangasius bocourti) : Source of omega-3 and beneficial to health (P-125). การประชุมวันวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 “วิถีวิจัย : สู่สังคมร่มรื่นและเป็นสุข” 23-25 พฤศจิกายน 2550.
13. Ruttanasuriyakorn, S., Atthacha, I., Thammapat, P., Sarobol, M., & Pharanat, W. (2018). Determination of heat transfer coefficient of organic chiangda tea (Gymnema inodorum Lour.) under hot air convection drying (P-764). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
14. Boonsuwan, S., Sarobol, M., Thammapat, P., Pharanat, W. & Suttham, W. (2018). Energy consumption and quality attributes for drying postharvest of dragon fruit (Hylocereus undatus) following disinfesting hot air treatments (P-699). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
15. Sarobol, M., Pharanat, W., Thammapat, P., Ruttanasuriyakorn, S., Atthacha, I., & Sarobol, P. (2018). Mathematical model suitability for thin-layer drying of chiangda herbal tea (Gymnema inodorum Lour.) under modified greenhouse dryer (P-540). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
16. Artwongsa, N., Saemsri, P., Sarobol, M., & Thammapat, P. (2018).
Development of germinated parboiled thunya-sirin glutinous rice product under modified greenhouse dryer (P-703). Siam Physics Congress 2018. Hotel & Convention Center Phitsanulok 21-23 May 2018.
17. Thammapat, P., Meeso, N., & Siriamornpun, S. (2013). Effect of Soaking
Condition on Amylose, Amylopectin and Radical Scavenging Activity of
RD-6 Rice (P-262). 8th International CIGR Technical Symposium “Advanced food processing and quality management”. Guangzhou, China 3-7 November 2013.
18. สำราญ พิมราช สุนันท์ บุตรศาสตร์ และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2561). ผลของการฉีด
พ่นกรดซิลิซิกต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1. วารสารเกษตรพระวรุณ. 15(2) : 363-371.
19. สิทธิโชค พรรค์พิทักษ์ ปภัสสร สุทธิด่าง และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2561). ผลของ
โอโซนต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะเขือเทศสีดา(Lycopersicon esculentum
Mill.) ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ. วารสารเกษตรพระวรุณ. 15(2) : 325-334.
20. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ วีระยุทธ แสนมหาชัย สุพรรษา บ่อใหญ่ กมล พลคำ. (2564). ผล
ของการอบแห้งด้วยรังสีอินฟราเรดและลมร้อนต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของขมิ้นชัน. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 8-15.
21. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา กฤษฎา ไชยสิงห์. (2564). ผลของ
ระยะเวลาและอุณหภูมิในการงอกต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดและกรดแกมมา-อะมิโนบิวทิริกในข้าวไทยบางชนิด. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 49-55.
22. สำราญ พิมราช เหล็กไหล จันทะบุตร พรพิษณุ ธรรมปัทม์ สุนันท์ บุตรศาสตร์. (2563).
ความสัมพันธ์ระหว่างการสะสมปริมาณซิลิคอนกับการให้ผลผลิตของข้าว. วารสารเกษตรพระวรุณ. 17(2) : 209-222.
23. ญาณิศา โพธิ์รัตน์โส สุนันท์ บุตรศาสตร์ และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2562). การพัฒนา
ผลิตภัณฑ์แครกเกอร์ฟักทองปลอดกลูเตน. วารสารเกษตรพระวรุณ. 16(2) : 221-227.
24. กาญจนา ดงสงคราม พรพิษณุ ธรรมปัทม์ และ กฤตภาส ยุทธอาจ. (2562). นวัตกรรม
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ขนมจีนอบแห้งสมุนไพร. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. 5(2) : 94-102.
25. พรพิษณุ ธรรมปัทม์ นวลอนงค์ องค์นาม อนุศาสน์ โยธะวงษ์ ศราวุฒ รักษาราช และ ชูทวีป ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใบมะเขือแผ่นอบกรอบเสริมโปรตีนจากแมลง. วารสารเกษตรพระวรุณ. 18(2) : 49-55.
26. เปรมประชา ดรชัย ศราวุฒ รักษาราช มาตรา ยุบลชู และ พรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นจากผักโขมเสริมโปรตีนจากหอยเชอรี่. วารสารเกษตรนเรศวร. 19(1) : 1-13.
27. Pornpisanu Thammapat and Sirithon Siriamornpun. (2023). Effect of urea-to-fatty acid ratio and crystallization temperature on the fatty acid composition of rice bran oil concentrate by urea complexation. Naresuan University Journal: Science and Technology. (31)1 : 20-28.
28. เปรมประชา ดรชัย รจนา ภูสมตา อรปรียา ปะตาทะโย และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเสริมมันเทศและโปรตีนจากแมลง. วารสารเกษตรพระวรุณ. 20(1) : 11-18.
29. วีระชาติ นันตะเวช สำราญ พิมราช และพรพิษณุ ธรรมปัทม์. (2566). ผลของระยะเวลาในการงอกต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและ ไฟโตสเตอรอลในข้าวไทยบางชนิด. เกษตรพระวรุณ. 20(2) : 92-97.